หน้าแรก     บทเรียน     โปรแกรม     ผู้จัดทำ     เอกสารอ้างอิง
 

- บทนำ
- การวัดความสอดคล้องกัน
- การวัดความสัมพันธ์



- พระจอมเกล้าฯลาดกระบัง
- คณะวิทยาศาสตร์
- ภาควิชาสถิติประยุกต์

 

 

บทที่ 3
การวัดความสัมพันธ์ (Measure of association)


    จะกล่าวถึงการวัดความสัมพันธ์ของตัวแปรทางแถวนอนและแถวตั้งจากตารางแบบต่างๆ คือ 2x2, rxk และ r x k แบบมีลำดับที่ดังนี้

3.1 กรณีตาราง 2x2

การประยุกต์ใช้คือ การเปรียบเทียบ 2 กลุ่ม เช่น มีข้อมูลเกี่ยวกับความเชื่อเกี่ยวกับชีวิตหลังการตายของกลุมตัวอย่างชายและหญิง

  เชื่อ ไม่ตัดสินใจ
หญิง 435 147
ชาย 375 135

อยากเปรียบเทียบว่า เพศชายและหญิงเชื่อด้วยสัดส่วนเท่ากันหรือไม่ หรือมีความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับความเชื่อหรือไม่ (เช่นหญิงเชื่อมากกว่าชาย) หรือความเชื่อเป็นอิสระต่อเพศหรือไม่

สรุป จะเป็นการวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ ( Association ) ระหว่าง 2 ตัวแปร ค่าสถิติที่ใช้จะมีดังนี้

1.ผลต่างของค่าสัดส่วน

     ถ้าในกรณีที่ตัวแปรทาง แถวตั้ง , Y เป็นตัวแปรตาม ในขณะที่ตัวแปรทางแถวนอน , X เป็นตัวแปรอิสระ จะมีการแจกแจงของค่า Y ในแต่ละระดับของ X จะเรียกว่า conditional probability for Y given the level of X หรือเรียกสั้นๆว่า conditional distribution,

จากตารางข้างต้น แสดงสัญลักษณ์ ได้ดังนี้

ความเป็นอิสระ ( Independence )

สองตัวแปร จะเรียกว่า เป็นอิสระกันก็ต่อเมื่อ ค่า conditional prob. ของ Y ทุกระดับของ x มีค่าเท่ากัน เช่น ตัวอย่างข้างต้น สมมติว่าค่า prob. ของความเชื่อ = 0.74 เท่ากันในทั้งเพศชายและหญิง นั่นคือ เพศ + ความเชื่อเป็นอิสระกัน

การเปรียบเทียบค่าสัดส่วนในตาราง 2 x 2

ค่าสถิติจากตัวอย่าง

ตัวอย่าง 3.1 ข้อมูลจากการศึกษาเรื่องการใช้ Aspirin จะช่วยลดการเป็นโรคหัวใจได้อย่างไร การทดลองในระยะเวลา 5 ปี โดยผู้เข้าทดลองไม่ทราบว่าตนจะได้รับยา Aspirin หรือไม่ ได้ข้อมูลดังนี้

เป็นโรคหัวใจ
กลุ่มตัวอย่างที่ได้รับยา
เป็น
ไม่เป็น
รวม
placebo
189
10845
11034
Aspirin
104
10933
11037

 

หน้าต่อไป>>   

 

 

 

 
 
  © Copyright 2006-2007 Astyleplus.net All Rights Reserved. Design by Interspire